Search
Search
Search

โทร. 0 2634 9981-4

Search

โทร. 0 2634 9981-4

Previous slide
Next slide
"ได้รับความคุ้มครองภายใต้ อนุสิทธิบัตร (Petty Patent Protected)"
Coverpage-SYLER

ท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ (Syler Pipe)

"ได้รับความคุ้มครองภายใต้ อนุสิทธิบัตร (Petty Patent Protected)"

ท่อไซเลอร์ เป็นท่อเหล็กบุพีอี ( Syler PE-Lined Steel pipe) ทางเลือกหนึ่งของท่อเหล็ก ที่พัฒนามาจากการพิจารณาข้อดีและข้อจำกัดของท่อพลาสติก และท่อเหล็กชุบสังกะสี หรือท่อกัลวาไนซ์ (Hot Dip Galvanized)

โดยข้อดีของท่อพลาสติก คือ ไม่เป็นสนิม แต่ปัญหา คือ กรอบ แตก เพราะแสงแดด และมีคุณสมบัติในการรับแรงดันได้จำกัด

ส่วนข้อดีของท่อเหล็กชุบสังกะสี คือ  แข็งแรง ทนต่อแสงแดดและยูวี (UV) รวมถึงสามารถรับแรงดันได้สูง แต่ปัญหาของท่อเหล็กชุบสังกะสีนั้นมักจะเป็นสนิม เนื่องจากธรรมชาติของท่อเหล็กนั้น เมื่อมี เหล็ก + น้ำ + ออกซิเจน มาบรรจบกันจะเกิดปฏิกิริยาที่เรียกว่า “ออกซิเดชั่น” (Oxidation) ซึ่งเป็นสาเหตุการก่อให้เกิดสนิมในท่อเหล็ก

ท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ ( Syler PE-Lined Steel pipe) ได้พัฒนาขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว ภายในท่อเหล็กทุกเส้นมีการบุพีอี (PE-Lined Steel Pipe),  ข้อต่อเกลียวทุกชิ้น มีการบุพีพี (PP-Lined Fitting) และข้อต่อกรู๊ฟทุกชิ้นมีการเคลือบพีอี (Hot Roll Grooved Fitting)  ทำการติดตั้งด้วยวิธีการกรู๊ฟ (Grooved) ติดตั้งง่าย ไร้ประกายไฟ โดยทำการติดตั้งร่วมกับ Grooved Line Gasket สำหรับป้องกันหน้าตัดท่อสัมผัสน้ำ และทาน้ำยา Herme Seal No.55 เพื่อป้องกันสนิม ทำให้ภายในท่อไม่มีการสัมผัสน้ำโดยตรงจึงมั่นใจได้ว่า ท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ สามารถใช้งานได้ยาวนาน ไม่เกิดสนิมจากภายใน ไม่ผุ ไม่รั่วซึม


*เมื่อทำการติดตั้งตามขั้นตอนของบริษัท >>> ดูวิธีการติดตั้งท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ คลิ้กเลย

ด้วยคุณสมบัติดังกล่าว ทำให้ท่อไซเลอร์เหมาะที่จะใช้เป็น ท่อเมนหรือท่อประธานภายในอาคารสูง, คอนโด, โรงแรม รวมไปถึงสามารถใช้กับโรงงานที่ต้องการใช้น้ำประปาแรงดันสูงได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ ท่อไซเลอร์ยัง สามารถใช้งานกับระบบท่อได้หลากหลาย เช่น ท่อน้ำประปา, ระบบปรับอากาศ, ท่อลม, ท่อดับเพลิง, ท่อน้ำร้อน เป็นต้น

ท่อไซเลอร์ คุณสมบัติที่เหนือกว่าท่อทั่วไป

ท่อไซเลอร์ไม่ลามไฟ
ไม่ลามไฟ
ท่อไซเลอร์แข็งแรง ทนต่อแรงกระแทก
แข็งแรง ทนต่อแรงกระแทก
ท่อไซเลอร์ปลอดสนิม และโลหะหนัก
ปลอดสนิม และโลหะหนัก
ท่อไซเลอร์มีอายุการใชง้านยาวนาน
อายุการใช้งานยาวนาน
ท่อไซเลอร์ทนต่อแสงแดดและยูวี
ทนต่อแสงแดดและยูวี

องค์ประกอบสำคัญของท่อไซเลอร์ 5 Layer

เพื่อให้คุณมั่นใจในผลิตภัณฑ์ขบวนการผลิตการทำหน้าที่ของแต่ละชั้นผิวท่อไซเลอร์ คำนึงถึงความปลอดภัยสะอาดให้แก่ผู้ใช้งาน

  • PE Lining Layer ชั้นที่ 1 เป็นส่วนที่สัมผัสน้ำ ผลิตจากพีอี (Polyethylene) ซึ่งเป็นพลาสติกที่สะอาดที่สุด สามารถนำมาใช้ในเชิงอุตสาหกรรมได้ ผ่านการทดสอบภายใต้มาตรฐาน BS 6920 Part II
  • Zinc Layer ชั้นที่ 2 (สังกะสี หรือ Galvanized) ช่วยป้องกันการเกิดสนิม และป้องกันการกัดกร่อนในเบื้องต้น
  • Steel Layer ชั้นที่ 3 ผลิตจากท่อเหล็ก ตามมาตรฐาน BS EN 10255 : 2004 (BS 1387/85 เดิม) Class M และทำการชุบสังกะสี (Hot Dipped Galvanize) ตามมาตรฐาน EN 1461 สำหรับท่อขนาด 1/2 นิ้ว ถึง 6 นิ้ว และผลิตจากท่อเหล็กชุบสังกะสี ตามมาตรฐาน BS EN 10217 : 2019 สำหรับท่อขนาด 8 นิ้ว
  • Zinc Layer ชั้นที่ 4 (สังกะสี หรือ Galvanized) ช่วยป้องกันการเกิดสนิม และป้องกันการกัดกร่อนในเบื้องต้น

1. ท่อเหล็กประปาชุบสังกะสี มาตรฐาน BS EN 10255:2004 Class M (BS 1387:1985 เดิม)
ประกอบด้วยท่อเหล็กขนาด 1/8 นิ้ว – 6 นิ้ว ตามที่ระบุไว้ในมาตรฐาน BS EN 10255:2004 ตารางที่ 2 หน้าที่ 10
2. ท่อเหล็กดำ ท่อเหล็กชุบสังกะสี มาตรฐาน ASTM A53/A53M Schedule 40
ประกอบด้วยท่อเหล็กขนาด 1/8 นิ้ว – 26 นิ้ว ตามที่ระบุไว้ในมาตรฐาน ASTM A53/A53M ตารางที่ X2.2 หน้าที่ 12 – 15
3. ท่อเหล็กกลม ท่อดำ ท่อเหล็กชุบสังกะสี มาตรฐาน JIS G3452:2004 SGP
ประกอบด้วยท่อเหล็กกลมขนาด 1/8 นิ้ว – 20 นิ้ว ตามที่ระบุไว้ในมาตรฐาน JIS G3452:2004 ตารางที่ 6 หน้า 4

  ตารางเปรียบเทียบมาตรฐาน ASTM , BS EN และ JISท่อเหล็กกัลวาไนซ์

ท่อเหล็ก  (อ้างอิง : มาตรฐาน BS EN ISO 1461:2009 ตารางที่ 3 หน้าที่ 7)

ท่อประปาที่นิยมใช้งานในปัจจุบันมีหลายชนิด มีข้อดี ข้อจำกัดแตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น ท่อพลาสติก (ท่อพีวีซี PVC, ท่อพีพีอาร์ PPR, ท่อพีอี PE)  และท่อเหล็กชุบสังกะสี ท่อกัลวาไนซ์ ท่อเหล็กกลม

 

ท่อไซเลอร์เป็นท่อเมนส่งน้ำประปาสำหรับอาคารสูง คอนโดมิเนียม โรงแรม โรงงานอุตสาหกรรม ความแข็งแรง ทนทาน ภายในท่อไม่เกิดสนิม เส้นผ่านศูนย์กลางภายในท่อไซเลอร์มีขนาดใหญ่กว่า รับแรงดันได้สูงกว่าท่อ PPR PN20 (ท่อ PP-R PN 20 มีความหนากว่า ทำให้เส้นผ่านศูนย์กลางภายในท่อเล็กกว่าท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ )

ปัจจุบันการออกแบบท่อประธาน (Main) อาคารสูง นอกจากจะต้องคิดคำนวณจากปัจจัยความสูงของอาคารแล้ว ยังต้องพิจารณาถึงแรงดันปั๊มที่ใช้งานด้วย ทำให้หลายอาคารต้องเปลี่ยนจากท่อ PP-R เป็นท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ หรือท่อกัลวาไนซ์ เพราะสามารถรับแรงดันในการใช้งานได้จริง

ตารางเปรียบเทียบ ท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ ,ท่อเหล็กอาบสังกะสี กัลวาไนซ์, ท่อ PPR และท่อ PVC

ท่อ ppr

ท่อไซเลอร์ไม่ลามไฟ
ไม่ลามไฟ
ท่อไซเลอร์แข็งแรง ทนต่อแรงกระแทก
แข็งแรง ทนต่อแรงกระแทก
ท่อไซเลอร์ปลอดสนิม และโลหะหนัก
ปลอดสนิม และโลหะหนัก
ท่อไซเลอร์มีอายุการใชง้านยาวนาน
อายุการใช้งานยาวนาน
ท่อไซเลอร์ทนต่อแสงแดดและยูวี
ทนต่อแสงแดดและยูวี

1. ท่อเหล็กประปาชุบสังกะสี มาตรฐาน BS EN 10255:2004 Class M (BS 1387:1985 เดิม)
ประกอบด้วยท่อเหล็กขนาด 1/8 นิ้ว – 6 นิ้ว ตามที่ระบุไว้ในมาตรฐาน BS EN 10255:2004 ตารางที่ 2 หน้าที่ 10
2. ท่อเหล็กดำ ท่อเหล็กชุบสังกะสี มาตรฐาน ASTM A53/A53M Schedule 40
ประกอบด้วยท่อเหล็กขนาด 1/8 นิ้ว – 26 นิ้ว ตามที่ระบุไว้ในมาตรฐาน ASTM A53/A53M ตารางที่ X2.2 หน้าที่ 12 – 15
3. ท่อเหล็กกลม ท่อดำ ท่อเหล็กชุบสังกะสี มาตรฐาน JIS G3452:2004 SGP
ประกอบด้วยท่อเหล็กกลมขนาด 1/8 นิ้ว – 20 นิ้ว ตามที่ระบุไว้ในมาตรฐาน JIS G3452:2004 ตารางที่ 6 หน้า 4

  ตารางเปรียบเทียบมาตรฐาน ASTM , BS EN และ JISท่อเหล็กกัลวาไนซ์

ท่อเหล็ก  (อ้างอิง : มาตรฐาน BS EN ISO 1461:2009 ตารางที่ 3 หน้าที่ 7)

ท่อประปาที่นิยมใช้งานในปัจจุบันมีหลายชนิด มีข้อดี ข้อจำกัดแตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น ท่อพลาสติก (ท่อพีวีซี PVC, ท่อพีพีอาร์ PPR, ท่อพีอี PE)  และท่อเหล็กชุบสังกะสี ท่อกัลวาไนซ์ ท่อเหล็กกลม

 

ท่อไซเลอร์เป็นท่อเมนส่งน้ำประปาสำหรับอาคารสูง คอนโดมิเนียม โรงแรม โรงงานอุตสาหกรรม ความแข็งแรง ทนทาน ภายในท่อไม่เกิดสนิม เส้นผ่านศูนย์กลางภายในท่อไซเลอร์มีขนาดใหญ่กว่า รับแรงดันได้สูงกว่าท่อ PPR PN20 (ท่อ PP-R PN 20 มีความหนากว่า ทำให้เส้นผ่านศูนย์กลางภายในท่อเล็กกว่าท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ )

ปัจจุบันการออกแบบท่อประธาน (Main) อาคารสูง นอกจากจะต้องคิดคำนวณจากปัจจัยความสูงของอาคารแล้ว ยังต้องพิจารณาถึงแรงดันปั๊มที่ใช้งานด้วย ทำให้หลายอาคารต้องเปลี่ยนจากท่อ PP-R เป็นท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ หรือท่อกัลวาไนซ์ เพราะสามารถรับแรงดันในการใช้งานได้จริง

ตารางเปรียบเทียบ ท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ ,ท่อเหล็กอาบสังกะสี กัลวาไนซ์, ท่อ PPR และท่อ PVC

ท่อ ppr

ท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ (Syler PE-Lined Steel Pipe)

ท่อไซเลอร์ เป็นท่อเหล็กบุพีอี ( Syler PE-Lined Steel pipe) ทางเลือกหนึ่งของท่อเหล็ก ที่พัฒนามาจากการพิจารณาข้อดีและข้อจำกัดของท่อพลาสติก และท่อเหล็กชุบสังกะสี หรือท่อกัลวาไนซ์ (Hot Dip Galvanized)

โดยข้อดีของท่อพลาสติก คือ ไม่เป็นสนิม แต่ปัญหา คือ กรอบ แตก เพราะแสงแดด และมีคุณสมบัติในการรับแรงดันได้จำกัด
ส่วนข้อดีของท่อเหล็กชุบสังกะสี คือ  แข็งแรง ทนต่อแสงแดดและยูวี (UV) รวมถึงสามารถรับแรงดันได้สูง แต่ปัญหาของท่อเหล็กชุบสังกะสีนั้นมักจะเป็นสนิม เนื่องจากธรรมชาติของท่อเหล็กนั้น เมื่อมี เหล็ก + น้ำ + ออกซิเจน มาบรรจบกันจะเกิดปฏิกิริยาที่เรียกว่า “ออกซิเดชั่น” (Oxidation) ซึ่งเป็นสาเหตุการก่อให้เกิดสนิมในท่อเหล็ก

ท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ ( Syler PE-Lined Steel pipe) ได้พัฒนาขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว ภายในท่อเหล็กทุกเส้นมีการบุพีอี (PE-Lined Steel Pipe),  ข้อต่อเกลียวทุกชิ้น มีการบุพีพี (PP-Lined Fitting) และข้อต่อกรู๊ฟทุกชิ้นมีการเคลือบพีอี (Hot Roll Grooved Fitting)  ทำการติดตั้งด้วยวิธีการกรู๊ฟ (Grooved) ติดตั้งง่าย ไร้ประกายไฟ โดยทำการติดตั้งร่วมกับ Grooved Line Gasket สำหรับป้องกันหน้าตัดท่อสัมผัสน้ำ และทาน้ำยา Herme Seal No.55 เพื่อป้องกันสนิม ทำให้ภายในท่อไม่มีการสัมผัสน้ำโดยตรงจึงมั่นใจได้ว่า ท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ สามารถใช้งานได้ยาวนาน ไม่เกิดสนิมจากภายใน ไม่ผุ ไม่รั่วซึม
*เมื่อทำการติดตั้งตามขั้นตอนของบริษัท >>> ดูวิธีการติดตั้งท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ คลิ้กเลย

ด้วยคุณสมบัติดังกล่าว ทำให้ท่อไซเลอร์เหมาะที่จะใช้เป็น ท่อเมนหรือท่อประธานภายในอาคารสูง, คอนโด, โรงแรม รวมไปถึงสามารถใช้กับโรงงานที่ต้องการใช้น้ำประปาแรงดันสูงได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ ท่อไซเลอร์ยัง สามารถใช้งานกับระบบท่อได้หลากหลาย เช่น ท่อน้ำประปา, ระบบปรับอากาศ, ท่อลม, ท่อดับเพลิง, ท่อน้ำร้อน เป็นต้น

รูปหน้างานท่อไซเลอร์
" ท่อไซเลอร์ ช่วยตอบโจทย์ …
ในเรื่องปัญหาภายในท่อประปาเหล็กอาคารเป็นสนิม ผุกร่อน รั่วซึม "

องค์ประกอบสำคัญในแต่ละชั้นของ ท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ (4 Layer)

เพื่อให้คุณมั่นใจในผลิตภัณฑ์ขบวนการผลิตการทำหน้าที่ของแต่ละชั้นผิวท่อไซเลอร์ คำนึงถึงความปลอดภัยสะอาดให้แก่ผู้ใช้งาน

  • PE Lining Layer ชั้นที่ 1 เป็นส่วนที่สัมผัสน้ำ ผลิตจากพีอี (Polyethylene) ซึ่งเป็นพลาสติกที่สะอาดที่สุด สามารถนำมาใช้ในเชิงอุตสาหกรรมได้ ผ่านการทดสอบภายใต้มาตรฐาน BS 6920 Part II
  • Zinc Layer ชั้นที่ 2 (สังกะสี หรือ Galvanized) ช่วยป้องกันการเกิดสนิม และป้องกันการกัดกร่อนในเบื้องต้น
  • Steel Layer ชั้นที่ 3 ผลิตจากท่อเหล็ก ตามมาตรฐาน BS EN 10255 : 2004 (BS 1387/85 เดิม) Class M และทำการชุบสังกะสี (Hot Dipped Galvanize) ตามมาตรฐาน EN 1461 สำหรับท่อขนาด 1/2 นิ้ว ถึง 6 นิ้ว และผลิตจากท่อเหล็กชุบสังกะสี ตามมาตรฐาน BS EN 10217 : 2019 สำหรับท่อขนาด 8 นิ้ว
  • Zinc Layer ชั้นที่ 4 (สังกะสี หรือ Galvanized) ช่วยป้องกันการเกิดสนิม และป้องกันการกัดกร่อนในเบื้องต้น
เมื่อต้องการซ่อมท่อ Renovate ท่อน้ำอาคารสูง โรงแรม คอนโด และท่อโรงงานอุตสาหกรรม
“เลือกท่อไซเลอร์จบในครั้งเดียว หมดปัญหาสนิม คุ้มค่า คุ้มราคา ซ่อมแซม Renovate ง่ายแม้ในที่แคบ”

การติดตั้งท่อไซเลอร์

วิธีการติดตั้งท่อไซเลอร์แบบกรู๊ฟ

การติดตั้งท่อไซเลอร์กับ Grooved Coupling

วิธีการติดตั้งหน้้าจาน Grooved Flange กับท่อไซเลอร์

วิธีการติดตั้งเกจวัดแรงดัน (Pressure Gauge) กับท่อไซเลอร์

การติดตั้งท่อไซเลอร์ กับข้อต่อสามทางกรู๊ฟคัปปลิ้ง

วิธีการติดตั้งท่อไซเลอร์แบบเกลียว

วิธีการติดตั้งวาล์วประตูน้ำ หรือเกทวาล์ว GATE VALVE เข้ากับท่อไซเลอร์แบบเกลียว

ป้องกันหน้าตัดท่อเหล็กเป็นสนิมด้วยน้ำยาเฮอร์เมสซีล เบอร์ 55

PP-R Water Piping System

PP-R | PP-RCT 
Water Piping System

ท่อน้ำทิ้งเก็บเสียง

วาล์วเติมอากาศ

ระบบระบายน้ำฝน

ระบบรั้วตาข่าย

ติดต่อเรา :

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

www.sylerpipe.com จะปกป้องข้อมูลและความเป็นส่วนตัวของคุณ (ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่หน้า นโยบายความเป็นส่วนตัว) หากคุณยินยอมที่จะให้เราจัดเก็บ ประมวลผลข้อมูล และนำเสนอสินค้าและบริการที่เหมาะกับความต้องการของท่าน สามารถกรอกข้อมูลและคลิกปุ่ม “ส่งข้อความ” เพื่อดำเนินการต่อไป