Search
Search
Search

โทร. 0 2634 9981-4

Search

โทร. 0 2634 9981-4

สินค้าไซเลอร์ >> ท่อไซเลอร์
Coverpage-SYLER

ท่อประปาเหล็ก ปลอดสนิมจากภายใน

สำหรับเจ้าของโครงการ / ผู้รับเหมา / ที่ปรึกษาโครงการ / ผู้ออกแบบโครงสร้าง หรือผู้ออกแบบงานระบบสุขาภิบาลที่มีความกังวลเกี่ยวกับปัญหาในส่วนของ ท่อเมนระบบน้ำ เกิดสนิม, เกิดการผุกร่อนตามกาลเวลาที่ใช้งานและกำลังมองหาท่อประปา โดยเฉพาะสำหรับ ท่อประปาเหล็กที่มีอายุการใช้งานที่ยาวนาน
 
ท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ ( Syler PE-Lined Steel pipe)  จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับท่อเมนโครงสร้างภายในอาคารสูง โดยมีคุณสมบัติเป็นท่อเหล็กปลอดสนิมจากภายใน หรือเรียกอีกอย่างว่า “ท่อเหล็กบุพีอี” โดยพัฒนามาจากคุณสมบัติและข้อจำกัดของท่อพลาสติกและท่อเหล็กชุบสังกะสี หรือท่อกัลวาไนซ์ (Hot Dip Galvanized)

ท่อกัลวาไนซ์ หรือเรารู้จักกันในอีกชื่อเรียกหนึ่งว่า ท่อเหล็กเคลือบสังกะสี ต่างจากท่อเหล็กทั่วไปตรงที่ผ่านกระบวนการ นำท่อดำไปชุบสังกะสีแบบจุ่มร้อน โดยสังกะสีจะถูกเพิ่มขึ้นตามพื้นผิวความหนาของท่อเหล็ก  ช่วยเพิ่มคุณสมบัติป้องกันสนิม และการกัดกร่อน ช่วยให้ท่อเหล็กแข็งแรง และสามารถรับแรงดันได้สูง  อายุการใช้งานยาวนานก่าท่อเหล็ก ธรรมดา
ส่วนมากการทำท่อประปาเหล็กกัลวาไนซ์ไปใช้งาน เหมาะกับ การนำไปใช้กับสิ่งก่อสร้างที่อยู่ในพื้นที่ ที่มีความเสี่ยงต่อการผุกร่อนของเหล็กสูง เช่น โรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ อาคารสูง คอนโด หรือ อาคาร โรงแรม ที่อยู่ติดชายทะเล รวมไปถึงงานที่ต้องการความแข็งแรง และต้องใช้ท่อที่สามารถรับแรงดันได้สูง

ข้อดี

  1. มีความแข็งแรง ทนทาน สามารถรับแรงดันได้สูงกว่าท่อพลาสติก
  2. ไม่ต้องทาสีกันสนิม เนื่องจากท่อเหล็กกัลวาไนซ์ เคลือบสังกะสีป้องกันสนิมจากโรงงานผลิตมาแล้ว
  3. สำหรับการใช้งานเป็นโครงสร้างภายในอาคารสูง ประหยัดในระยะยาว ไม่ต้องสิ้นเปลืองค่าบำรุงซ่อมแซม
  4. เหมาะกับการนำไปใช้ในงานโครงสร้าง อาคารสูง คอนโด โรงงานอุตสาหกรรม ที่อยู่ในสภาพวะแวดล้อมที่มีความชื้น หรือตั้งอยู่ใกล้พื้นที่ติดชายทะเล

ข้อเสีย

  1. ถึงแม้ว่าท่อเหล็กกัลวาไนซ์จะมีคุณสมบัติป้องกันสนิม แต่ท่อกัลวาไนซ์จะเกิดสนิมบริเวณข้อต่อ เนื่องจากเป็นบริเวณที่มีการต๊าปเกลียว ซึ่งทำให้เกิดการขัดสังกะสีที่เคลือบท่อเหล็กบริเวณนั้นออก
  2. จากการเชื่อมดังกล่าวข้างต้น ทำให้เกิดสารพิษจากสังกะสีซึ่งเป็นอันตรายต่อผู้ทำงาน
  3. จากสาเหตุการเกิดสนิมดังกล่าวข้างต้น ทำให้ท่อกัลวาไนซ์ไม่เหมาะกับระบบประปาในอาคารสูง หรือระบบท่อ เพราะสังกะสีจะปนเปื้อนกับนำที่ใช้บริโภค
ท่อประปาเหล็ก หรือ ท่อประปาพลาสติก … เลือกแบบไหนดี

ท่อประปาเหล็ก หรือ ท่อประปาพลาสติก … เลือกแบบไหนดี

ท่อพลาสติก
ข้อจำกัดและปัญหาของการใช้ของท่อพลาสติก คือ กรอบ แตก เมื่อได้รับแสงแดด และมีความสามารถในการรับแรงดันได้อย่างจำกัด เมื่อใช้เป็นท่อเมนอาคาร สำหรับโรงงานอุตสาหกรรม  ท่อเมนคอนโดหรือท่อเมนอาคารสูงต่างๆ ส่วนข้อดีของท่อพลาสติก คือ ไม่เป็นสนิม 

ท่อประปาเหล็ก
ท่อเหล็กประเภทชุบสังกะสี นั้น มักเป็นสนิม เมื่อมี เหล็ก + น้ำ + อากาศ (ออกซิเจน) มาบรรจบกัน โดยจะเกิดปฏิกิริยาที่เรียกว่า “ออกซิเดชั่น” (Oxidation) ซึ่งก่อให้เกิดสนิมขึ้นในท่อเหล็ก ทำให้เกิดการผุกร่อนและรั่วซึมตามมา เมื่อเริ่มมีอายุการใช้งานเป็นเวลานาน ส่วนในเรื่องของข้อดี คือ เมื่อใช้เป็นท่อเมนสำหรับอาคารสูง คอนโด หรือโรงงาน จะมีความแข็งแรง, ทนแสงแดดและยูวี (UV) และสามารถรับแรงดันได้สูง

ท่อเหล็กบุพีอี ไซเลอร์ (Syler Pipe) ทางเลือกของ ท่อประปาเหล็กปลอดสนิมจากภายใน

ท่อเหล็กบุพีอี ไซเลอร์ (Syler Pipe) ทางเลือกของ ท่อประปาเหล็กปลอดสนิมจากภายใน

สำหรับท่อไซเลอร์ ( Syler Pipe)  นั้น ได้พัฒนามาจาก ข้อดีและข้อจำกัดของทั้ง ท่อเหล็กชุบสังกะสี หรือ เรียกอีกอย่างว่า ท่อกัลวาไนซ์ (Hot Dip Galvanized) กับ ท่อพลาสติก ดังที่กล่าวไว้ข้างต้นโดยได้พัฒนาเป็น “ท่อเหล็กบุพีอี”

ท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ (Syler) มีความแตกต่างจากท่อประปาเหล็ก ที่ใช้เป็นท่อเมนในอาคารสูงทั่วไป คือ สามารถรับแรงดันได้สูง รวมถึงยังปลอดสนิมจากภายใน เนื่องจากไม่มีการสัมผัสน้ำโดยตรงเพราะท่อเหล็กทุกเส้น, ข้อต่อเกลียวทุกชิ้น รวมถึงข้อต่อกรู๊ฟ มีการบุพีอี

ดังนั้น เจ้าของโครงการหรือผู้รับเหมาที่จะเลือกใช้ ท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ เป็นท่อเมนประปาในโครงสร้างของอาคารสูง,ท่อเมนประคอนโด, ท่อน้ำโรงงานอุตสาหกรรม จึงมั่นใจได้ว่า ท่อเมนประปาภายในอาคารจะปลอดสนิมจากภายใน (**เมื่อทำการติดตั้งตามขั้นตอนของบริษัท โดยติดตั้งร่วมกับน้ำยา Herme Seal No.55 และGrooved Line Gasket) 

ท่อเหล็กบุพีอี ไซเลอร์ (Syler) จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่คุ้มค่า  หมดกังวลเรื่องการรีโนเวทระบบท่อน้ำภายในอาคาร เมื่อผ่านการใช้งานยาวนานเป็นสิบๆปี

คุณสมบัติของท่อประปาเหล็กปลอดสนิม ไซเลอร์

ท่อเมนอาคาร

✔️ เป็นท่อประปาเหล็กบุพีอี ซึ่งมีคุณสมบัติปลอดสนิม ท่อเหล็กไม่เป็นสนิมจากภายใน
✔️ สามารถรับแรงดันน้ำใน ที่ต้องส่งน้ำจากถังน้ำใต้ดิน(underground tank) ไปยังถังน้ำบนดาดฟ้า (roof tank)
✔️ ผลิตท่อเหล็กตามมาตรฐาน BSEN 10255:2004 Class M ที่ทดสอบแรงดัน 50 bar (บาร์)
✔️ รับแรงดันน้ำได้สูงกว่าท่อพีพีอาร์ (PP-R) และท่อพีวีซี (PVC) ทั่วไป
✔️ เส้นผ่าศูนย์กลางภายในใหญ่กว่าท่อ PP-R
✔️ นวัตกรรมท่อ 4 ชั้น น้ำไหลผ่านสะอาด
✔️ แข็งแรงทนทาน สามารถนำไปใช้งานภายนอกอาคารและยังสามารถติดตั้งได้ในพื้นที่ที่สัมผัสแสงแดด หรือรังสียูวีโดยตรง
✔️ ไม่ลามไฟ เมื่อเกิดอัคคีภัย
✔️
ไม่ผุไม่รั่วซึม
✔️
อายุการใช้งานยาวนาน

ตารางเปรียบเทียบ คุณสมบัติของท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ (Syler pipe) เมื่อเปรียบเทียบกับท่อชนิดอื่นๆ
คุณสมบัติท่อประปาเหล็กบุพีอีไซเลอร์ท่อเหล็กชุบสังกะสี
กัลวาไนซ์
ท่อ PPRท่อ PVC
ความสามารถในการรับแรงดันสูงสุด50 บาร์ (735psi)50 บาร์ (735psi)20 บาร์ (294psi)13.5 บาร์ (198.5psi)
ความแข็งแรง✔️✔️✖️✖️
การทนไฟ✔️✔️✖️✖️
ภายในไม่เกิดสนิม✔️✖️✔️✔️
ทนต่อแสงแดด✔️✔️✖️✖️

ท่อพลาสติก
ข้อจำกัดและปัญหาของการใช้ของท่อพลาสติก คือ กรอบ แตก เมื่อได้รับแสงแดด และมีความสามารถในการรับแรงดันได้อย่างจำกัด เมื่อใช้เป็นท่อเมนอาคาร สำหรับโรงงานอุตสาหกรรม  ท่อเมนคอนโดหรือท่อเมนอาคารสูงต่างๆ ส่วนข้อดีของท่อพลาสติก คือ ไม่เป็นสนิม 

ท่อประปาเหล็ก
ท่อเหล็กประเภทชุบสังกะสี นั้น มักเป็นสนิม เมื่อมี เหล็ก + น้ำ + อากาศ (ออกซิเจน) มาบรรจบกัน โดยจะเกิดปฏิกิริยาที่เรียกว่า “ออกซิเดชั่น” (Oxidation) ซึ่งก่อให้เกิดสนิมขึ้นในท่อเหล็ก ทำให้เกิดการผุกร่อนและรั่วซึมตามมา เมื่อเริ่มมีอายุการใช้งานเป็นเวลานาน ส่วนในเรื่องของข้อดี คือ เมื่อใช้เป็นท่อเมนสำหรับอาคารสูง คอนโด หรือโรงงาน จะมีความแข็งแรง, ทนแสงแดดและยูวี (UV) และสามารถรับแรงดันได้สูง

สำหรับท่อไซเลอร์ ( Syler Pipe)  นั้น ได้พัฒนามาจาก ข้อดีและข้อจำกัดของทั้ง ท่อเหล็กชุบสังกะสี หรือ เรียกอีกอย่างว่า ท่อกัลวาไนซ์ (Hot Dip Galvanized) กับ ท่อพลาสติก ดังที่กล่าวไว้ข้างต้นโดยได้พัฒนาเป็น “ท่อเหล็กบุพีอี”

ท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ (Syler) มีความแตกต่างจากท่อประปาเหล็ก ที่ใช้เป็นท่อเมนในอาคารสูงทั่วไป คือ สามารถรับแรงดันได้สูง รวมถึงยังปลอดสนิมจากภายใน เนื่องจากไม่มีการสัมผัสน้ำโดยตรงเพราะท่อเหล็กทุกเส้น, ข้อต่อเกลียวทุกชิ้น รวมถึงข้อต่อกรู๊ฟ มีการบุพีอี

ดังนั้น เจ้าของโครงการหรือผู้รับเหมาที่จะเลือกใช้ ท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ เป็นท่อเมนประปาในโครงสร้างของอาคารสูง,ท่อเมนประคอนโด, ท่อน้ำโรงงานอุตสาหกรรม จึงมั่นใจได้ว่า ท่อเมนประปาภายในอาคารจะปลอดสนิมจากภายใน (**เมื่อทำการติดตั้งตามขั้นตอนของบริษัท โดยติดตั้งร่วมกับน้ำยา Herme Seal No.55 และGrooved Line Gasket) 

ท่อเหล็กบุพีอี ไซเลอร์ (Syler) จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่คุ้มค่า  หมดกังวลเรื่องการรีโนเวทระบบท่อน้ำภายในอาคาร เมื่อผ่านการใช้งานยาวนานเป็นสิบๆปี

✔️ เป็นท่อประปาเหล็กบุพีอี ซึ่งมีคุณสมบัติปลอดสนิม ท่อเหล็กไม่เป็นสนิมจากภายใน
✔️ สามารถรับแรงดันน้ำใน ที่ต้องส่งน้ำจากถังน้ำใต้ดิน(underground tank) ไปยังถังน้ำบนดาดฟ้า (roof tank)
✔️ ผลิตท่อเหล็กตามมาตรฐาน BSEN 10255:2004 Class M ที่ทดสอบแรงดัน 50 bar (บาร์)
✔️ รับแรงดันน้ำได้สูงกว่าท่อพีพีอาร์ (PP-R) และท่อพีวีซี (PVC) ทั่วไป
✔️ เส้นผ่าศูนย์กลางภายในใหญ่กว่าท่อ PP-R
✔️ นวัตกรรมท่อ 4 ชั้น น้ำไหลผ่านสะอาด
✔️ แข็งแรงทนทาน สามารถนำไปใช้งานภายนอกอาคารและยังสามารถติดตั้งได้ในพื้นที่ที่สัมผัสแสงแดด หรือรังสียูวีโดยตรง
✔️ ไม่ลามไฟ เมื่อเกิดอัคคีภัย
✔️
ไม่ผุไม่รั่วซึม
✔️
อายุการใช้งานยาวนาน

ท่อ ppr

ท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ vs ท่อเหล็กอาบสังกะสี

ดังนั้น เจ้าของโครงการหรือผู้รับเหมาที่จะเลือกใช้ ท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ เป็นท่อเมนประปาในโครงสร้างของอาคารสูง,ท่อเมนประคอนโด, ท่อน้ำโรงงานอุตสาหกรรม จึงมั่นใจได้ว่า ท่อเมนประปาภายในอาคารจะปลอดสนิมจากภายใน (**เมื่อทำการติดตั้งตามขั้นตอนของบริษัท โดยติดตั้งร่วมกับน้ำยา Herme Seal No.55 และGrooved Line Gasket) 

ท่อเหล็กบุพีอี ไซเลอร์ (Syler) จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่คุ้มค่า  หมดกังวลเรื่องการรีโนเวทระบบท่อน้ำภายในอาคาร เมื่อผ่านการใช้งานยาวนานเป็นสิบๆปี

ประเภทของท่อประปาเหล็กบุพีอี ไซเลอร์ ชนิดต่าง ๆ
หน้าท่อSYLER-ท่อไซเลอร์แบบธรรมดา
ไซเลอร์ ท่อน้ำร้อน

 

ท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ แบบธรรมดา (ไส้สีขาว – TYPE C , CLASS M (MEDIUM))
>> เหมาะสำหรับน้ำที่ไหลในท่อประปาเหล็ก อุณหภูมิไม่เกิน 60 °C  ขนาดตั้งแต่ 1/2″- 8″ สามารถรับแรงดันสูงสุดไม่เกิน 50 Bar เหมาะสำหรับใช้เป็น ท่อแบบธรรมดาและท่อน้ำเย็น

 

ท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ แบบสำหรับน้ำร้อน (ไส้สีแดง – TYPE H , CLASS M (MEDIUM))
>> เหมาะสำหรับน้ำที่ไหลในท่อประปาเหล็ก อุณหภูมิไม่เกิน 90 °C  ขนาดตั้งแต่ 1/2″- 8″ สามารถรับแรงดันสูงสุดไม่เกิน 50 Bar เหมาะสำหรับใช้เป็นท่อน้ำร้อน

ขนาด และคุณสมบัติของท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์
ประเภทความยาว/เส้นใช้งานได้ที่อุณหภูมิขนาดมาตรฐานลักษณะการใช้งาน
แบบธรรมดา6 เมตรไม่เกิน 3°C - 60°C½ – 8 นิ้วBS EN 10255:2004 (BS 1387:1985 เดิม) Class M / BS 6920 Part2 / BS EN 1461 / BS EN 10217:2019 (เฉพาะ ขนาด 8นิ้ว)ท่อน้ำเย็น, ท่อน้ำดี, ท่อ chilled water, ท่อลม, ท่อดับเพลิง
แบบสำหรับน้ำร้อน6 เมตรไม่เกิน 3°C – 90°C½ นิ้ว – 8 นิ้วBS EN 10255:2004 (BS 1387:1985 เดิม) Class M / BS 6920 Part2 / BS EN 1461 / BS EN 10217:2019 (เฉพาะ ขนาด 8นิ้ว)ท่อน้ำร้อน (ประหยัดกว่าท่อทองแดงหุ้มฉนวน)
วิธีการติดตั้งท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์กับข้อต่อแบบต่างๆ

สำหรับการเดินท่อประปาเหล็กบุพีอีไซเลอร์เป็นท่อเมนอาคารสูง, ท่อเมนประคอนโด หรือ ท่อน้ำโรงงานอุตสาหกรรมนั้น สามารถทำการติดตั้งได้ 2 วิธี คือ การติดตั้งแบบกรู๊ฟและการติดตั้งแบบเกลียว
**ท่อเหล็กบุพีอีของไซเลอร์นั้น ไม่สามารถทำการติดตั้งแบบเชื่อมได้ เพราะจะทำให้พลาสติกในท่อเสียหายจากความร้อนขณะทำการติดตั้ง และทำให้เกิดสนิมบริเวณรอยเชื่อมได้

วิธีการติดตั้งแบบกรู๊ฟ

การติดตั้งแบบกรู๊ฟ คือ การติดตั้งท่อประปาเหล็ก กับ ข้อต่อแบบกรู๊ฟ คัปปลิ้ง (Grooved Coupling) โดยทำการติดตั้งร่วมกับน้ำยาเฮอร์เมสซีล 55 (Herme Seal 55) , Grooved Line Gasket และ น้ำยาหล่อลื่น Lubricant QUICK LUBE

ข้อดีของการติดตั้งแบบกรู๊ฟ
✔️ สามารถทำงานได้ง่าย
✔️ สะดวก ประหยัดเวลา
✔️ ไร้ประกายไฟ ไม่เสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัย

** เนื่องมากจาก ท่อเหล็กบุพีอีไซเลอร์ เป็นท่อเหล็กที่ภายในมีการบุด้วยพลาสติกพีอี (PE) จึงจำเป็นต้องใช้เครื่องกรู๊ฟ (Grooving Machine) ที่มีหัวกรู๊ฟแบบพิเศษ ซึ่งถูกพัฒนามาจากโรงงานผู้ผลิตร่วมกับบริษัทไซเลอร์  ซึ่งหากต้องทำการกรู๊ฟท่อ ต้องใช้เครื่องกรู๊ฟนี้เท่านั้น

วิธีการติดตั้งแบบเกลียว

สำหรับการติดตั้ง ท่อประปาของท่อเหล็กชุบสังกะสี และการติดตั้งเป็นท่อประปาขนาดเล็ก นิยมใช้การติดตั้งท่อประปาแบบเกลียว เพราะสามารถนำเครื่องการต๊าปเกลียวไปตัดและต๊าปเกลียวได้ที่หน้างาน ติดตั้งง่ายเหมือนท่อเหล็กทั่วไป
**แต่ต้องให้ความสำคัญกับการตัดท่อที่ต้องให้ได้ฉาก 90° ทุกครั้ง และทำการติดตั้งร่วมกับ น้ำยาซีลป้องกันการผุกร่อน กาวเฮอร์มาซีล 55 (Herma Seal No.55) เพื่อป้องกันการเกิสนิมบริเวณเกลียว

อุปกรณ์สำคัญในขั้นตอนการติดตั้ง